สภาพทั่วไป

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของเทศบาลตำบลหนองไผ่

1.       สภาพทั่วไป

1.1    ลักษณะที่ตั้ง

ตำบลหนองไผ่  เป็นตำบลหนึ่งในอำเภอนาดูน  จังหวัดมหาสารคาม   มีระยะห่างจากที่ทำการอำเภอนาดูน ประมาณ  12   กิโลเมตร  และระยะห่างจากจังหวัดมหาสารคาม  ตามถนนสายมหาสารคาม  -  พยัคฆภูมิพิสัย  เป็นระยะทาง  55  กิโลเมตร     มีอาณาเขตติดต่อกับตำบลต่างๆดังนี้

 ทิศเหนือ              ติดต่อกับเขต ตำบลหัวเรือ  อำเภอวาปีปทุม  จังหวัดมหาสารคาม

                ทิศใต้                 ติดต่อกับเขต  ตำบลกู่สันตรัตน์  อำเภอนาดูน  จังหวัดมหาสารคาม

          ทิศตะวันออก         ติดต่อกับเขต   ตำบลดอกล้ำ  อำเภอปทุมรัตน์  จังหวัดร้อยเอ็ด

          ทิศตะวันตก        ติดต่อกับเขต   ตำบลดงยาง  อำเภอนาดูน  จังหวัดมหาสารคาม

1.2  เนื้อที่

                    เทศบาลตำบลหนองไผ่    มีเนื้อที่ทั้งหมด  29  ตารางกิโลเมตร

1.3   ลักษณะภูมิประเทศ

             ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ มีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบเหมาะแก่การเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทำนาข้าว ไม่มีภูเขา  แม่น้ำไหลผ่าน  มีเฉพาะลำห้วย  และอ่างเก็บน้ำขนาดเล็ก ขนาดปานกลาง   และพื้นที่บางส่วนเป็นพื้นที่ป่าชุมชนและที่สาธารณะประโยชน์

1.4  จำนวนประชากร

องค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่  แบ่งเขตการปกครองออกเป็น  8  หมู่บ้าน   มีประชากรทั้งสิ้น   3,874   คน  แยกเป็น   ชาย   1,933  คน  หญิง   1,941  คน  มีจำนวน  895  ครัวเรือน  มีความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ย       คน / ตารางกิโลเมตร

 

                                         ตารางแสดง  ข้อมูลประชากรองค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่

 

หมู่ที่

ชื่อบ้าน

จำนวนประชากร

(คน)

จำนวนชาย

(คน)

จำนวนหญิง

(คน)

ครัวเรือน

1

2

3

4

5

6

7

8

บ้านหนองไผ่

บ้านลิ้นฟ้า

บ้านโนนเห็ดไค

บ้านหนองบัวคู

บ้านด้ามขวาน

บ้านหนองนกคู่

บ้านหนองอีเลิ้ง

บ้านหนองบัวน้อย

542

635

648

616

285

576

411

161

261

331

320

315

137

291

        196

82

281

304

328

301

148

285

215

79

134

143

156

135

66

139

85

37

 

รวม

3,874

1,933

1,941

895

                              ที่มา : สำนักทะเบียนอำเภอนาดูน   ข้อมูล ณ  เดือนธันวาคม  2555          

 

         แผนภูมิแท่งเปรียบเทียบประชากรชายหญิง /ครัวเรือน  หมู่ที่ 1-8  ตำบลหนองไผ่  

                                                      ตารางแสดง  การเปรียบเทียบจำนวนประชากรย้อนหลัง

 

ปี

จำนวนประชากร(คน)

ชาย (คน)

หญิง (คน)

ครัวเรือน

2546

3,730

1,859

1,871

796

2547

3,767

1,876

1,891

806

2548

3,767

1,894

1,891

822

2549

3,769

1,888

1,881

839

2550

3,769

1,901

1,877

848

2551

3,763

1,892

1,871

844

2552

3,814

1,920

1,894

859

2553

3,841

1,924

1,917

872

2554

3,855

1,930

1,925

880

  2555

3,845

1,924

1,921

897

2556

3,874

1,933

1,941

895

            ที่มา : สำนักทะเบียนอำเภอนาดูน   ข้อมูล ณ  เดือนธันวาคม   2555 ตำบลหนองไผ่                                                                                                                 

                     แผนภูมิแท่งเปรียบเทียบจำนวนประชากร ตำบลหนองไผ่ ชาย หญิง / ครัวเรือน  ปี พ.ศ. 2546 - 2556 ตำบลหนองไผ่                                                                                                                                                                                           

2.       สภาพทางเศรษฐกิจ

2.1    อาชีพ

               ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองไผ่ ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การทำนาและการปลูกพืชผักสวนครัวบางฤดูกาล นอกจากนี้ก็ทำงานรับจ้างทั่วไป ค้าขายเล็กๆ น้อยๆ ภายในหมู่บ้านและ                                                                      

มีอาชีพ การทอผ้า การจักสาน การทอเสื่อกก เป็นอาชีพเสริม บางส่วนหลังจากทำนาเสร็จ ก็อพยพไปทำงานในเมืองหลวง หรือถิ่นอื่น

 

2.2    หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล

                             โรงสีข้าวขนาดเล็ก               22      แห่ง

                             -  ร้านค้า                            29      แห่ง

                             -   อู่ซ่อมรถ                                    1          แห่ง 

                             ร้านวัสดุก่อสร้าง                   3      แห่ง   

                             -   ปั๊มน้ำมัน                                   2            แห่ง

 

3.       สภาพสังคม

3.1    การศึกษา

โรงเรียนประถมศึกษา                       2       แห่ง

โรงเรียนมัธยมศึกษา (ขยายโอกาส)       1       แห่ง

-     ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก                      1       แห่ง

-   ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน        8       แห่ง

3.2    สถาบันและองค์กรทางศาสนา

 

วัด  / สำนักสงฆ์        6    แห่ง

3.3    การสาธารณสุข

-  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบลหนองไผ่              1       แห่ง

-   ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานหมู่บ้าน (ศส.มช.)          8        แห่ง

3.4    ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

-          ตู้ยามตำรวจ   1  แห่ง

4.       การบริการพื้นฐาน

          4.1  การคมนาคม

ถนนสายหลักที่ติดต่อกับอำเภอเป็นถนนลาดยาง                                              

ถนนในหมู่บ้านเป็นคอนกรีตประมาณ   80  เปอร์เซ็นต์

ถนนระหว่างหมู่บ้านส่วนใหญ่เป็นถนนดินและถนนลูกรัง

ถนนในช่วงหน้าฝน   เป็นหลุมเป็นบ่อ มีน้ำท่วมขังทำให้การคมนาคมไม่สะดวก

          4.2  การโทรคมนาคม

-    ตู้โทรศัพท์สาธารณะ    10        แห่ง

            4.3  การไฟฟ้า

มีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือน  แต่ปัจจุบันมีการขยายตัวของชุมชนไปตั้งตามที่นา  เพื่อทำการเกษตร  ทำให้ไฟฟ้า และแสงสว่างเวลาค่ำคืน  ยังมีไม่ทั่วถึง  และไม่เพียงพอ

          4.4  แหล่งน้ำธรรมชาติ

-   ลำน้ำ  ลำห้วย         1        สาย

-     สระน้ำสาธารณะ    1        แห่ง

-     หนองน้ำ             6        แห่ง

4.5   แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น

-   ฝาย                                       3        แห่ง

-   บ่อโยก                                    19      แห่ง

-   บ่อน้ำตื้น                                  9       แห่ง

-   ประปาหมู่บ้าน                            2       แห่ง

-   ประปาแบบผิวดิน ขนาดใหญ่มาก        2       แห่ง   (แบบประปานครหลวง)

                           -   ประปาแบบผิวดิน ขนาดใหญ่     2       แห่ง   (แบบประปานครหลวง)

5.ข้อมูลอื่น ๆ

          5.1  ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่

              ดอนปู่ตา      8        แห่ง

       5.2   มวลชนจัดตั้ง

-          ลูกเสือชาวบ้าน                                      1    รุ่น ๆละ        200     คน

-          คณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชน                  1 คณะ        19    คน

-    อาสาพัฒนาและป้องกันหมู่บ้าน                     1  รุ่น         28       คน

-          อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อปพร.)     1  รุ่น         50      คน 

-          อาสาสมัครปกป้องสถาบัน (อสป.)                  รุ่น 100       คน               

5.       ศักยภาพในตำบล

      ก. ศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตำบล

1.  บุคลากร                            จำนวน            23       คน

     ตำแหน่งในสำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล                  8      คน                                               

     ตำแหน่งในส่วนการคลัง                                            3     คน

     ตำแหน่งในส่วนโยธา                                                3     คน

       ตำแหน่งในส่วนสาธารณสุขฯ                                     4     คน

       ตำแหน่งในส่วนการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม                 3     คน

        ตำแหน่งในส่วนสวัสดิการสังคม                                      2 คน

     ตำแหน่งในส่วนส่งเสริมการเกษตร                        -      คน

       2. ระดับการศึกษาของบุคลากร

          ปริญญาโท                 จำนวน             2      คน 

ปริญญาตรี                 จำนวน          10      คน

ต่ำกว่าปริญญาตรี           จำจวน                11         คน

              3. รายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบล  (รับจริง)

      ประจำปีงบประมาณ   2555                                        จำนวน 13,234,931.10    บาท  

               หมวดภาษีอากร                                            จำนวน        64,323.72    บาท

               หมวดค่าธรรมเนียม  ค่าปรับ  และใบอนุญาต               จำนวน        129,146.91  บาท

               หมวดรายได้จากทรัพย์สิน                             จำนวน       46,564.82    บาท

               หมวดรายได้จากสาธารณูปโภคและการพาณิชย์            จำนวน             -   บาท

               หมวดรายได้เบ็ดเตล็ด                                            จำนวน     424,989.00   บาท

               หมวดรายได้จากทุน                                             จำนวน             -         บาท

               หมวดภาษีจัดสรร                                            จำนวน   7,915,660.65        บาท

               หมวดเงินอุดหนุน                                           จำนวน    4,654,246.00   บาท       

     ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่

1.       การรวมกลุ่มของประชาชน

      จำนวนกลุ่มทุกประเภทจำนวน                      24        กลุ่ม      แยกประเภทกลุ่ม

     -  กลุ่มอาชีพ                        จำนวน           8        กลุ่ม

     -  กลุ่มออมทรัพย์                   จำนวน           8        กลุ่ม

     -  กองทุนหมู่บ้าน                จำนวน              8        กลุ่ม                                                            

2.       จุดเด่นของพื้นที่ (ที่เอื้อต่อการพัฒนาตำบล)

  1)  ตำบลหนองไผ่  มีสภาพกายภาพเป็นดินปนทรายพื้นที่ส่วนใหญ่ใช้ทำการ

เกษตรกรรม อาศัยน้ำจากธรรมชาติเป็นหลัก   ประชาชนส่วนใหญ่จะมีอาชีพทำนา  หลังฤดูกาลเก็บเกี่ยวมีอาชีพรับจ้างทั่วไป  ทำให้มีรายได้ไม่แน่นอน  เนื่องจากประสบกับภาวะฝนแล้ง    เหมาะสำหรับการส่งเสริมอาชีพและการมีงานทำ เช่น  ส่งเสริมการปลูกหม่อนเลี้ยงไหม  ส่งเสริมอาชีพนอกการเกษตร ส่งเสริมอาชีพ                                                                

อุตสาหกรรมในครัวเรือน  ส่งเสริมการปลูกพืชผักฤดูกาลเก็บเกี่ยว  ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่นชาวบ้าน  เพื่อให้ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น                                          

                   2)   ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ  มีการอนุรักษ์ประเพณีดั้งเดิมอย่าง

เหนียวแน่น   มีความสัมพันธ์ฉันท์พี่น้อง  มีความขยัน  อดทน   โอบอ้อม  อารี  และเอื้อเฟื้อเ ผื่อแผ่

                         

***********************************

 

 

 

Submit to FacebookSubmit to Google PlusSubmit to TwitterShare with friendsPrint this page
1582758
วันนี้
เมื่อวาน
อาทิตย์นี้
สัปดาห์ที่ผ่านมา
เดือนนี้
เดือนที่ผ่านมา
All days
455
519
2462
657004
9168
16361
1582758

Your IP: 162.158.170.28
2024-11-21 14:35